มิว CV-19 สายพันธุ์ใหม่

ในส่วนของตรงนี้หลายคนต่างติดตามและออกความคิดเห็นและต้องบอกว่าหลายๆคนอย่าเพิ่งชะล่าใจ ทั้งนี้ในส่วนของรอบนี้นั้นก้ได้รับผลกระทบกันอย่างมากอยู่แล้วกับเดลต้า แล้วถ้า มิวมาอีกนี้ ถือได้ว่าน่าเป้นห่วงอย่างชมากจริงๆ ทั้งนี้ถึงสถานการกำลังจะกลับมาดีขึ้นแต่ก้ต้องกินร้อนช้อนเรา ใส่แมสก์ และเว้นระยะ 2เมตร กันด้วย

จดหมายข่าวรายสัปดาห์ขององค์การอนามัยโลก WHO เกี่ยวกับการ ร ะ บ า ด ของ โ ค วิ ด -19 ระบุว่าขณะ WHO กำลังเฝ้าจับตา เ ชื้ อ โ ค โ ร น า ไ ว รั ส สายพันธุ์ใหม่ B.1.621 หรือที่ใช้ชื่อเรียกว่า มิว (Mu) ซึ่งพบครั้งแรกในประเทศโคลอมเบีย เมื่อช่วงเดือน ม.ค. 2564

ทั้งนี้ WHO ได้ระบุว่า สายพันธุ์มิวซึ่งถูกจัดให้อยู่ในสายพันธุ์ที่น่าจับตามอง หรือ Variant of Interest (VOI) มีการกลายพันธุ์ที่บ่งชี้ว่ามีความเสี่ยงที่จะดื้อต่อ วั ค ซี น และเน้นย้ำว่ายังจะต้องศึกษา ไ ว รั ส สายพันธุ์นี้เพิ่มเติมเพื่อทำความเข้าใจ สายพันธุ์มิว

 

มีกลุ่มของการกลายพันธุ์ที่บ่งชี้ว่ามีแนวโน้มที่จะมีคุณสมบัติในการหลบเลี่ยงภูมิคุ้มกัน ตอนหนึ่งในจดหมายข่าวของ WHO ระบุ

 

ปัจจุบันทั่วโลกมีความกังวลเกี่ยวกับการเกิดขึ้นของ เ ชื้ อ ไ ว รั ส กลายพันธุ์ สายพันธุ์ใหม่ๆ เนื่องจากตัวเลขผู้ติด เ ชื้ อ โ ค วิ ด-19 ทั่วโลกกลับมาเพิ่มขึ้นอีกครั้ง โดยมีสายพันธุ์เดลตา ซึ่งแพร่กระจายได้ง่ายเป็นสายพันธุ์หลักที่มีการ ร ะ บ า ด อยู่ในขณะนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มคนที่ยังไม่ได้รับ วั ค ซี น ป้องกัน รวมถึงในภูมิภาคที่มีการผ่อนคลายมาตรการต่างๆ ลง

 

ขณะเดียวกัน แม้ว่าไวรัสทุกชนิดจะมีการกลายพันธุ์ตลอดเวลา รวมทั้ง เ ชื้ อ โ ค โ ร น า ไ ว รั ส SARS-CoV-2 ที่ก่อ โ ร ค โ ค วิ ด-19 ซึ่งการกลายพันธุ์ส่วนใหญ่มีผลกระทบเล็กน้อย หรือไม่มีเลยกับคุณสมบัติของ ไ ว รั ส

 

แต่การกลายพันธุ์บางอย่างก็ส่งผลกระทบต่อคุณสมบัติของ ไ ว รั ส และมีอิทธิพลกับความสามารถของการแพร่กระจาย ความรุนแรงของ โ ร ค และการดื้อต่อ วั ค ซี น ย า หรือการรับมืออื่นๆ

 

สำหรับข้อมูลปัจจุบัน WHO ได้ระบุให้ โ ค โ ร น า ไ ว รั ส รวม 4 สายพันธุ์ ได้แก่ แอลฟา บีตา แกมมา และเดลตา เป็นสายพันธุ์ที่น่ากัวล หรือ Variant of Concern (VOC) ส่วนอีก 5 สายพันธุ์ ที่รวมถึงล่าสุดอย่าง มิว เป็นสายพันธุ์ที่น่าจับตามอง

 

ในส่วนของสายพันธุ์มิว ภายหลังจากการพบครั้งแรกในประเทศโคลอมเบีย ก็ได้มีการพบสายพันธุ์นี้แพร่ระบาดในทวีปอเมริกาใต้และยุโรป

 

โดยทั่วโลกมีอัตราความชุกของ โ ร ค ต่ำกว่า 0.1% ในจำนวนเคสที่ทำการตรวจสอบพันธุกรรม อย่างไรก็ดีในโคลอมเบียนั้นมีความชุกอยู่ที่ 39%