เฮทั้งประเทศ ไทยวิจัย ยาฟาวิพิราเวียร์ ได้สำเร็จ รักษาผู้ป่วยได้เพียงพอ

เป็นอีกหนึ่งเรื่องราวที่คนทั้งประเทศต่างติดตามและต้องบอกว่า หม อประเทศไทยไม่แพ้ชาติไดในโลก ถือได้ว่าเป็เรื่องราวดีๆที่คนทั้งประเท ศต่างยิดดีและภูมิใจ

ล่าสุด วันที่ 13 กรกฎาคม น.ส.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ติดตาม ความคืบห น้ากา รวิจัยและพัฒนาการผลิตย าฟาวิพิราเวียร์ในประเทศ สำหรับต้านไวรัสโควิด-19 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ งของการขับเคลื่อนตามแผ นยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ BCG (Bio-Circula-Green Economy) ของรั ฐบาล

โดยสำนักงานพัฒน าวิทยาศาสตร์และเท คโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) รายงานว่า ได้มีก ารลงนามความร่ว มมือระห ว่าง สวทช. องค์การเภสัชกรรม (อภ.) และ บริษัท ปตท.

เพื่อร่วมกันวิจั ยและพัฒนากระบว นการสังเคราะห์สารตั้งต้น (Active Pharmaceutical Ingredients : API) ของการผลิตยาฟาวิพิราเวียร์ คว ามเป็นไปได้ในการผลิตเชิงพาณิชย์ เพี่อสร้างคว ามมั่นคงทางย าให้แก่ประเทศไทย โดยความร่วมมื อดังกล่าว มีความคื บหน้าอย่างมาก สามารถสังเคราะห์ สารตั้งต้นที่มีความบริ สุทธิผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และยั งเป็นการสั งเคราะห์จากสาร ตั้งต้นที่มีราคาถูกโดยไม่ต้อ งนำเข้าวัตถุดิบจา กต่างประเท ศ ซึ่งปัจจุบั นต้องมีการนำเข้ ามากถึงร้ อยละ 95

 

น.ส.รัชดา กล่าวว่า ในเดือนกรก ฎาคมนี้ ทางองค์การเภสัชกรร มคาดว่า ยาฟาวิพิ ราเวียร์ที่ได้วิจัยและพัฒนาขึ้นนั้น จะได้รับการขึ้นทะเบียนตำรับ ยาจากสำนักงานคณะ กรรมการอาห ารและยา (อย.) และจากนั้นจะเป็นการผลิตเชิงพาณิชย์เพื่อให้ผู้ป่วย โควิด-19 เข้าถึงยาอย่างเพียงพอ เมื่อทุกอย่างสำเร็จลุล่วง ประเทศไทยจะสามารถผลิตยาฟาวิพิราเวียร์ในราคาที่ถูกกว่านำเข้าอย่างมาก

น.ส.รัชดา กล่า วว่า ความร่วมมือระหว่าง สวทช. อภ. และ บริษัท ปตท. ด้วยว่า ครอบคลุมตั้งแต่การทดสอบในระดับห้องปฏิบัติการ (Laboratory scale) การถ่ายทอดเท คโนโลยีจนถึงระดับอุตสาหกรรม (Industrial scale) ตลอดจนการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาสารออ กฤทธิ์ท างเภสัชกรรม (Feasibility Study) ที่มีศักยภาพในเชิงพาณิชย์

 

จึงถื อเป็นอีกหนึ่งโมเดลความร่วมมือ รัฐ-เอกชน ในการพัฒ นาอุตสาหกรรมย า ขณะเดียวกันการพัฒนาวัคซี นป้ องกันโรคโควิ ด-19 โดยนักวิจัยไท ยก็มีความก้าวหน้าไปม ากเช่นกัน แส ดงให้เห็นถึงความสามา รถทางด้านการแพ ทย์และสาธารณสุ ขของไทย ระยะย าวนำไปสู่การลดก ารนำเข้า และยั งเป็นแนวทางห นึ่งที่ช่วยให้ประเท ศก้าวพ้นกับดักรา ยได้ปา นกลาง ซึ่งบุคคล ากรมีทั้งความรู้และนำไปต่ อยอดเพื่อการผลิตขายต่ อไปด้วย